viagra boots
viagra
boots buy antidepressants visa
amitriptyline 50mg
click amitriptyline 25mg
Amitriptyline for Anxiety
amitriptyline
25mg prednisolone london
prednisolone pharmacy
kristinasmith.us prednisolone side effects
female viagra
female viagra review
website female viagra name
accutane without food
buy
accutane pills
naltrexone 50mg
naltrexone
in uk
amoxicillin dosage
amoxicillin rash
click here buy amoxicillin for strep throat
clomid manchester
clomid uk success rates
online buy clomid tablets
tamoxifen uk pharmacy
tamoxifen
open tamoxifen uk price
Amoxicillin Online
buy amoxicillin for
dogs uk
buy antibiotics online
buy amoxicillin
abortion philippines
medical abortion ph
bizautomation.com abortion pill online philippines
buy albuterol sulfate
buy albuterol inhaler over the counter
williamgonzalez.me buy albuterol sulfate
coronavirus pregnancy risk
pregnant coronavirus work
read coronavirus pregnancy risk
buy accutane singapore
buy accutane
uk Amitriptyline for Nerve Pain
buy antidepressants
truonggiang.net buy antidepressants uk
abortion in philippines
abortion philippines
movidafm.net abortion in philippines
buy naltrexone
buy naltrexone online
india amitriptyline 25mg
buy antidepressants
visa order abortion pill philippines
abortion pill
philippines
วิธีการบริหารเงินออม

ว่าด้วย "วิธีการบริหารเงินออม" ซึ่งการบริหารจัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นไม่ใช่การเอาเงินทั้งก้อนไปฝากบัญชีปิดตายไว้เพียงส่วนเดียว จึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการให้เหมาะสมด้วย
โดยเราจะแยกเงินออมส่วนนี้ออกใส่เป็นส่วนย่อย 3 ส่วน ในเนื้อหานี้ขอเรียกว่า "ตุ่ม" โดยมีตุ่ม A, B, C เราจะไล่ตักเงินใส่ตุ่ม A ให้เต็มก่อน แล้วจึงไล่ไปใส่ตุ่ม B และ C ตามลำดับ
ตุ่ม A = เงินสดเอาไว้ใช้ยามฉุกเฉิน
- คือยามเจ็บไข้ได้ป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุไม่คาดฝัน ต้องจ่ายเงินเป็นจำนวนครั้งละมากๆ เช่น รถเสียต้องยกเครื่องใหม่ ฯลฯ
ตุ่ม B = เงินประกันเพื่อความเสี่ยงขั้นวิกฤต
- คือเผื่อเกิดเหตุร้ายขนาดทำงานไม่ได้หรือถึงกับเสียชีวิต แล้วมีครอบครัวมีพ่อแม่ลูกเมียอยู่ข้างหลัง จะได้ไม่เดือดร้อนภายหลัง
ตุ่ม C = เงินออมเย็นเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุข
- เก็บเพื่อจะรวย มีกินมีใช้อย่างสบายๆ
โดยในเนื้อหาสาระนี้ ผมอยากยกตัวอย่างการออมแบบ "ตุ่ม B = เงินประกันเพื่อความเสี่ยงขั้นวิกฤต" ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญมากในการวางแผนบริหารความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างไม่คาดคิด
เงินตุ่ม B คือการประกันความเสี่ยงแผนสำรอง หากเจอเหตุที่หนักหนาสาหัสยิ่งกว่าตุ่ม A เรียกได้ว่าเป็นการป้องกันเงินออกจากตุ่ม A ให้ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น นั่นก็คือ "การทำประกันภัย"
"ประกันภัย" นั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ ประกันภัยทรัพย์สินและประกันชีวิต-สุขภาพ
ผมขอยกตัวอย่างที่ "ประกันภัยทรัพย์สิน" ซึ่งการประกันที่ควรจะทำไว้กับทรัพย์สินที่อยู่ใกล้ตัวคือ "ประกันภัยรถยนต์" เพราะอุบัติเหตุบนท้องถนนสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาและมักเกิดขึ้นได้อย่างไม่ทันคาดคิด แม้ว่าขณะนั้นเราจะมีสติเต็มสมบูรณ์และไม่มีความประมาทก็ตาม
เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นมาแล้ว เราต้องถามตัวเองขึ้นมาอีกว่า "เราจะเอาเงินจากตุ่มไหนไปจ่ายค่าซ่อมรถของเราเองและอาจรวมถึงคู่กรณีหากเราเป็นฝ่ายผิด" ซึ่งยังไม่นับรวมค่ารักษาพยาบาลที่อาจจะเกิดขึ้นอีกด้วย
การทำประกันภัยรถยนต์นั้นถือเป็นการออมอย่างหนึ่งในรูปแบบที่ไม่ได้เป็นตัวเงินสดกลับคืนมา แม้บางคนอาจจะกล่าวว่าเบี้ยประกันภัยรถยนต์ค่อนข้างแพงเป็นหลักหมื่น แต่ถ้าหากเทียบกับความเสี่ยงเรื่องความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับรถทั้งคัน ก็คิดเป็นเพียงไม่ถึง 5%
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์คันหนึ่งเพิ่งซื้อมาในราคา 500,000 บาท และจ่ายเบี้ยประกันภัยรถยนต์คันนี้ 10,000 บาท ซึ่งคุ้มครองรถไปเป็นระยะเวลา 1 ปี เทียบเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วก็คือ ออมเงิน 2% ของรถคันนี้เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะทำให้เราต้องเสียรถยนต์ไปทั้งคันเมื่อเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง แทนที่เราจะต้องเสียค่าซ่อมจำนวนมากโดยควักจากตุ่ม A มาทั้งหมด เราอาจจะไม่จำเป็นต้องควักเงินแม้สักบาทเลยก็เป็นได้
ดังนั้น ประกันภัยรถยนต์ จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งของผู้ที่มีรถยนต์ในครอบครอง และวิธีการซื้อประกันภัยรถยนต์ ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของเงินสดที่จะเก็บแบบไม่ได้คืนในตุ่ม B นี้ด้วย โดยพิจารณาจากชื่อเสียงและศักยภาพความน่าเชื่อถือของบริษัทประกันภัยนั้นก่อนจะนำเงินไปออมไว้
หลักในการซื้อประกันภัย คือ มีไว้สำหรับแบ่งเบาความเสี่ยง และช่วยบรรเทาปัญหาที่เกิดจากการสูญเสียทรัพย์สิน หรือการเกิดอุบัติเหตุ ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายสูงต่อชีวิตและทรัพย์สิน ได้แก่ บ้าน รถยนต์ การรักษาพยาบาล เป็นต้น ผู้เอาประกันควรตรวจดูวงเงินความคุ้มครองต่างๆ ให้แน่ใจว่าเหมาะสมตามที่ต้องการ และครอบคลุมสิทธิประโยชน์มากที่สุดในอัตราเบี้ยที่เท่ากันรวมถึงพิจารณาเลือกซื้อ แผนประกันภัยให้ตรงกับความต้องการให้มากที่สุด เช่น หากไม่จำเป็นต้องซื้อ
ประกันภัยรถยนต์ชั้น 1 อาจเลือกซื้อ
ประกันภัยรถยนต์ 2 พลัส,
ประกันภัยรถยนต์ 3 พลัส หรือ
ประกันภัยรถยนต์ชั้น 3 ที่มีราคาถูกลงมา เพื่อให้เหมาะสมกับกำลังในการซื้อของแต่ละคน
เครดิตบทความ : หนังสือ รวย เร็ว แรง ด้วยหุ้น Forex II